เมนู

23. สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ


ปฏิจจวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[482] 1. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิย-
ธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญใญชนธรรม และสัญโญชนิยธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์.
พึงผูกจักรนัย
2. ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชน-
ธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยสัญโญชน-
ธรรมทั้งหลาย.
3. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม
และธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัย
ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกามราคสัญโญชน์.

พึงผูกจักรนัย
4. ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชน-
ธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์1 ที่เป็นสัญโญชนิย-
ธรรมแต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
ปฏิสนธิ ฯลฯ ตลอดถึงมหาภูตรูป.
5. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิย-
ธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัญโญชนธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนิย-
ธรรมแต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม.
6. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิย-
ธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม
อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 สัญโญชนธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
ขันธ์ 1 ที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
7. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิย-
ธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิยธรรม และ
ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ และ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
พึงผูกจักรนัย
8. ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชน-
ธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม และ
ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นสัญโญชนิย-
ธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
9. ธรรมที่เป็นสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิยธรรม
และธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัย
ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิยธรรม และธรรม
ที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และกามราค-
สัญโญชน์ ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
พึงผูกจักรนัย
เหมือนปฐมทุกะในสัญโญชนโคจฉกะ ทุกะแม้นี้พึงให้พิสดารอย่างนั้น
ไม่มีแตกต่างกัน เว้นโลกุตตระ.
สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ จบ

24. สัญโญชนสัญโญชนสัมปยุตตทุกะ


ปฏิจจวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[483] 1. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์
พึงผูกจักรนัย
2. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่
สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยสัญโญชนธรรมทั้งหลาย.
3. ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่
สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชน-
สัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยกามราคสัญโญชน์.
4. ธรรมที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่
สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนสัมปยุตตธรรม แต่
ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย